วท.บ. การขนส่งทางทะเล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล

ภาษาอังกฤษ

Bachelor of Science Program in Maritime Transportation

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม

วิทยาศาสตรบัณฑิต (การขนส่งทางทะเล)

ชื่อย่อ

วท.บ. (การขนส่งทางทะเล)

ชื่อเต็ม

Bachelor of Science (Maritime Transportation)

ชื่อย่อ

B.S. (Maritime Transportation)

รายละเอียดหลักสูตร

วท.บ. การขนส่งทางทะเล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

วท.บ. การขนส่งทางทะเล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

ตัวอย่างแผนการเรียน

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2566
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2561

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. บุคลากร/ตัวแทนนำเข้าและส่งออกสินค้า
  2. บุคลากร/ตัวแทนของสายการเดินเรือ
  3. เจ้าหน้าที่การท่าเรือแห่งประเทศไทย/บริษัทผู้ประกอบการท่าเรือเอกชน/กรมเจ้าท่า/กรมศุลกากร
  4. บุคลากร/เจ้าหน้าที่ด้านการขนส่งสินค้า
  5. บุคลากรด้านโลจิสติกส์
  6. นักวิจัย/นักวางระบบ/ที่ปรึกษา/อาจารย์ธุรกิจการขนส่งทางทะเล
  7. ผู้ประกอบกิจการผู้ประกอบการ/ผู้บริหารการขนส่งทางทะเล
  8. ผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจต่อเนื่องการขนส่งทางทะเล
  9. บุคลากรด้านธุรกิจประกันภัยทางทะเล
  10. เจ้าหน้าที่ขนส่งสินค้าทางทะเล
  11. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสินค้า
  12. บุคลากรและตัวแทนการขนส่งประเภทอื่น

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต

เลื่อนไปทางซ้าย-ขวาเพื่อดูตาราง
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
    1.1) กลุ่มสาระอยู่ดีมีสุข ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
    1.2) กลุ่มสาระศาสตร์แห่งผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
    1.3) กลุ่มสาระภาษากับการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 13 หน่วยกิต
    1.4) กลุ่มสาระพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
    1.5) กลุ่มสุนทรียศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 93 หน่วยกิต
    2.1) วิชาเฉพาะบังคับ   87 หน่วยกิต
    2.2) วิชาเฉพาะเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

(4) หมวดวิชาฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 240 ชม. หรือ 30 วันทำการ

(ยกเว้นนิสิตที่เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา)

   

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร