วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกลเรือ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลเรือ

ภาษาอังกฤษ

Bachelor of Engineering Program in Marine Engineering

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกลเรือ)

ชื่อย่อ

วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกลเรือ)

ชื่อเต็ม

Bachelor of Engineering (Marine Engineering)

ชื่อย่อ

B.Eng. (Marine Engineering)

รายละเอียดหลักสูตร

วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกลเรือ พ.ศ. 2565

วศ.บ. วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตัวอย่างแผนการเรียน

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. วิศวกรต่อเรือ
  2. วิศวกรนอกฝั่ง
  3. วิศวกรเครื่องกล
  4. นายประจำเรือฝ่ายห้องเครื่อง (ต้นกลเรือ)
  5. วิศวกรระบบควบคุมและอัตโนมัติ
  6. วิศวกรออกแบบงานระบบ
  7. นักวิจัยในด้านวิศวกรรมเครื่องกลเรือและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  8. ประกอบอาชีพอิสระด้านวิศวกรรมโรงงานอุตสาหกรรม
    และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต

เลื่อนไปทางซ้าย-ขวาเพื่อดูตาราง
(1) หมวดศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
    1.1) กลุ่มสาระอยู่ดีมีสุข ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
    1.2) กลุ่มสาระศาสตร์แห่งผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
    1.3) กลุ่มสาระภาษากับการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 13 หน่วยกิต
    1.4) กลุ่มสาระพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต
    1.5) กลุ่มสุนทรียศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 114 หน่วยกิต
    2.1) วิชาเฉพาะพื้นฐาน   30 หน่วยกิต
        2.1.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์   21 หน่วยกิต
        2.1.2) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม   9 หน่วยกิต
    2.2) วิชาเฉพาะด้าน   84 หน่วยกิต
        2.2.1) กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม   78 หน่วยกิต
        2.2.2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรม 6 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
(4) หมวดการฝึกงานและดูงาน ไม่น้อยกว่า 240 hours
(5) หมวดการฝึกอบรม (ไม่น้อยกว่า 24 วันทำการ)

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร