หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
Bachelor of Engineering Program in Naval Architecture and Ocean Engineering
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมต่อเรือและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์)
ชื่อย่อ
วศ.บ. (วิศวกรรมต่อเรือและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์)
ชื่อเต็ม
Bachelor of Engineering (Naval Architecture and Ocean Engineering)
ชื่อย่อ
B.Eng. (Naval Architecture and Ocean Engineering)
รายละเอียดหลักสูตร
วศ.บ. วิศวกรรมต่อเรือและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์ พ.ศ. 2565
ตัวอย่างแผนการเรียน
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- วิศวกรต่อเรือ
- วิศวกรนอกฝั่ง
- วิศวกรเครื่องกล/เครื่องกลเรือ
- ประกอบอาชีพอิสระด้านวิศวกรรมต่อเรือและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัยในด้านวิศวกรรมต่อเรือและสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต
(1) หมวดศึกษาทั่วไป | ไม่น้อยกว่า | 30 หน่วยกิต |
1.1) กลุ่มสาระอยู่ดีมีสุข | ไม่น้อยกว่า | 6 หน่วยกิต |
1.2) กลุ่มสาระศาสตร์แห่งผู้ประกอบการ | ไม่น้อยกว่า | 3 หน่วยกิต |
1.3) กลุ่มสาระภาษากับการสื่อสาร | ไม่น้อยกว่า | 13 หน่วยกิต |
1.4) กลุ่มสาระพลเมืองไทยและพลเมืองโลก | ไม่น้อยกว่า | 5 หน่วยกิต |
1.5) กลุ่มสุนทรียศาสตร์ | ไม่น้อยกว่า | 3 หน่วยกิต |
(2) หมวดวิชาเฉพาะ | ไม่น้อยกว่า | 114 หน่วยกิต |
2.1) วิชาเฉพาะพื้นฐาน | 30 หน่วยกิต | |
2.1.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ | 20 หน่วยกิต | |
2.1.2) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม | 10 หน่วยกิต | |
2.2) วิชาเฉพาะด้าน | 84 หน่วยกิต | |
2.2.1) กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม | 75 หน่วยกิต | |
2.2.2) กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรม | 9 หน่วยกิต | |
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า | 6 หน่วยกิต |
(4) หมวดการฝึกงานและดูงาน (ไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมง) |
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ประธานหลักสูตร
วศ.บ. วิศวกรรมต่อเรือ
และวิศวกรรมสมุทรศาสตร์
ผศ.ดร. กันตภณ ธนกิจกร
การศึกษา
- วศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- M.S. Unmanned Vehicles Sesign, University of Southampton
- Ph.D. Engineering and Environmental, University of Southampton
ความเชี่ยวชาญทางวิชาการ
- Marine Robotics
- Navigation, Guidance, and Control for Marine Vehicles
หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
- Marine Robotics
- Unmanned Surface Vehicle
- 3D Printing for Rapid Prototyping
- Engineering Optimisation
โทรศัพท์ภายใน:665514
อีเมล:kantapon.ta@ku.th
ผศ.ดร. ศิริรัตน์ จึงรุ่งเรืองถาวร
การศึกษา
- วศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วศ.ม. วิศวกรรมเครื่องกล (แขนงวิชากระบวนการความร้อนและของไหล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
- D.Eng. Naval Architecture and Ocean Systems Engineering, Korea Maritime and Ocean University (KMOU)
ความเชี่ยวชาญทางวิชาการ
- Marine Renewable Energy
- Overtopping Wave Energy Converter
- Computational Fluid Dynamics
- Ship Stability
หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
- Ship Design
- Ship Stability
- Wave energy converter: Overtopping type
โทรศัพท์ภายใน:665509
อีเมล:sirirat.jun@ku.th
รองคณบดีหน่วยวิจัยและนวัตกรรม
ผศ.ดร. รัฐกฤต เรียบร้อย
การศึกษา
- วศ.บ. วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- M.Eng. Design and Construction of Naval Architecture and Ocean Structure, Harbin Engineering University, China
- D.Eng. Design and Construction of Naval Architecture and Ocean Structure, Harbin Engineering University, China
ความเชี่ยวชาญทางวิชาการ
- Ship and offshore structure
- Renewable energy: Wave Energy Converter
หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
1. Ship and offshore structural design and analysis
2. Renewable energy base on ocean energy
3. Intelligent offshore aquaculture structures
โทรศัพท์ภายใน:665517
อีเมล:ratthakrit.r@ku.th
รองคณบดีฝ่ายกายภาพและเทคโนโลยีดิจิทัล
ผศ.ดร. ประชากร แก้วเขียว
การศึกษา
- วศ.บ. วิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วศ.ม. วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- D.Eng. Maritime Engineering, Kyushu University, Japan
โทรสัพท์ภายใน:665507
อีเมล:prachakon.ka@ku.th